วันอาทิตย์ที่ 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2560

BUS 6016 - บทที่ 1 การวิจัย

BUS 6016 วิธีการวิจัยทางธุรกิจ

Business Research Methodology

บทที่ 1 การวิจัย   
บรรยาย โดย อ.รพีพรรณ


  • ความหมายของการวิจัย
  • ประเภทของการวิจัย
  • ขั้นตอนในการทำวิจัย
  • การเขียนบทนำ

กาวิจัย หมายถึง กระบวนการที่จะเสาะหาความรู้ใหม่ (Finding Fact) หรือเป็นการสอบย้ำความรู้เดิมที่มีอยู่แล้ว (Confirm Fact) หรืออาจะสรุปได้อีกอย่างหนึ่งว่า การวิจัย หมายถึง การศึกษาหาความจริง ด้วยระบบและวิธีการอันถูกต้องเพื่อให้ได้มาซึ่งความรู้ในสิ่งที่วิจัยนั้น

ประเภทของการวิจัย
ประเภทที่ 1 : แบ่งตามประเภทของการใช้วิธีการทางสถิติเข้าช่วย
ประเภทที่ 2 : แบ่งการวิจัยตามจุดมุ่งหมายของการใช้งาน
ประเภทที่ 3 : แบ่งการวิจัยโดยใช้เนื้อหาในการวิจัย
ประเภทที่ 4 : การแบ่งการวิจัยตามลักษณะของวิธีการดำเนินงาน
ประเภทที่ 5 : แบ่งการวิจัยออกตามประเภทของแหล่งข้อมูล

ขั้นตอนในการทำการวิจัย
1. เลือกหัวข้อที่จะทำการวิจัย (Select Topic)
2. การตั้งสมมุติฐาน
3. การออกแบบวิจัย (Research Design)
4. การรวบรวมข้อมูล (Data Collection
5. การประมวลผลและวิเคราะห์ข้อมูล
6. การนำเสนอผล


การเขียนบทนำ
               มี 3 ส่วน
  1. ความเป็นมา (General Backgroound)  
  2. หลักการและเหตุผล (Rationale) 
  3. สภาพปัญหา   

               การเขียนบทนำทั้ง 3 ส่วนจะมีความเชื่อมโยงถึงกัน เช่น  ถ้ามีปัญหาเกิดขึ้น จะต้องมีหลักฐานว่ามีปัญหาเกิดขึ้นจริง เช่น ธุรกิจธนาคารมีคนลาออกจำนวนมาก เราจะต้องนำข้อมูล Turn over rate ของกิจการมาอ้างอิงว่ามีอัตราการลาออกสูงแค่ไหน  ให้เชื่อมโยงเพื่อความหนักแน่นแและความน่าเชื่อถือของข้อมูล

วันพฤหัสบดีที่ 4 พฤษภาคม พ.ศ. 2560

BUS 6016 : Business Research Methodology
BUS 6016 วิธีการวิจัยธุรกิจ 
Business Research Methodology

บทที่ 1 การวิจัย
บทที่ 2 การรวบรวมข้อมูล
บบที่ 3 แผนการสำรวจ
บทที่ 4 การประมวลผลข้อมูล
บบที่ 5 การเขียนบทที่ 3
การใช้งาน SPSS ในการทำงานวิจัย

เอกสารประกอบการบรรยาย โดย
ผศ.ดร.ประยงค์ มีใจซื่อ
รศ.ดร.ระพีพรรณ พิริยะกุล
รศ.ดร.มนตรี พิริยะกุล


Download : การใช้งาน SPSS , ตัวอย่างข้อมูล 

วันพฤหัสบดีที่ 20 เมษายน พ.ศ. 2560

BUS 6012 การจัดการการเงิน
Financial Management

บทที่ 8 : การประเมินมูลค่าหุ้นสามัญ

ตัวแปรสำคัญที่ควรรู้ มีดังนี้
D0=เงินปันผลปัจจุบัน                  P0= P^0ถ้าตลาดหลักทรัพย์อยู่ในดุลยภาพ
Dt=เงินปันผลที่จะได้รับในปีt        g=อัตราการเพิ่มขึ้นของเงินปันผลที่คาดไว้            
P0=ราคาปจบ.หุ้นสามัญ               Ks=อัตราผลตอบแทนที่ต้องการ
P^t=ราคาตลาดที่คาดไว้ปลายปีt    K^s =อัตราผลตอบแทนที่คาดว่าจะได้รับ
P^0=ราคาหุ้นตามทฤษฏี              s =อัตราผลตอบแทนที่ได้รับจริง






BUS 6011 การจัดการและพฤติกรรมองค์การ

คะแนน 100 คะแนน
1. รายงาน        10  คะแนน
2. สอบย่อย      20  คะแนน
3. สอบ Final    70  คะแนน
    รวม             100



การออกข้อสอบของอาจารย์ เข้าใจว่า ให้กรณีศึกษามา 1 แผ่น เหมือนเคสบุญรอด  แล้วตั้งคำถาม เช่น
1. จากกรณีศึกษา นักศึกษามีความเข้าใจเรื่อง หน้าที่การจัดการอย่างไร และ บ.บุญรอดเอาหน้าที่การจัดการมาใช้อย่างไร
2. โครงสร้างองค์กร แนวดิ่ง แนวนอน ต่างกันอย่างไร บ.บุญรอด มีการจัดโครงสร้างแบบใด

บทสำคัญที่เกร็งข้อสอบไว้ คือ บท  1,2,4,6,8,12,16
หลักการเขียนตอบ  
1. เขียนทฤษฎีทั้งหมดลงไป
2. วิเคราะห์ตามโจทย์   เริ่มเขียนว่า .... จากกรณีศึกษา บ.บุญรอด ใช้วิธีการควบคุม ดังนี้
1. การควบคุมแบบทางการ  อย่างไร ... ก็หยิบเอาข้อความในกรณีศึกษามาเขียน....
2. การควบคุมตลาด... อย่างไร....
3. การควบคุมแบบกลุ่ม ... วัฒนธรรมองค์กร อย่างไร ...
3. ข้อเสนอแนะที่ดีกว่า (ถ้าคิดได้)

  - เพราะการให้คะแนนแบ่งเป็น 2 ส่วน คือ ทฤษฎี และ การวิเคราะห์

การออกข้อสอบของอาจารย์ เข้าใจว่า ให้กรณีศึกษามา 1 แผ่น เหมือนเคสบุญรอด  แล้วตั้งคำถาม เช่น
1. จากกรณีศึกษา นักศึกษามีความเข้าใจเรื่อง หน้าที่การจัดการอย่างไร และ บ.บุญรอดเอาหน้าที่การจัดการมาใช้อย่างไร
2. โครงสร้างองค์กร แนวดิ่ง แนวนอน ต่างกันอย่างไร บ.บุญรอด มีการจัดโครงสร้างแบบใด
3. เรื่องการควบคุม
4. ภาวะผู้นำ
5. การจัดการธุรกิจต่างประเทศ

เทคนิคตอนสอบ ลองแนะนำดูนะ
 พอได้โจทย์กรณีศึกษามาปุ๊บ
1. ดูว่าโจทย์ถามทฤษฎีอะไร ทุกข้อเลย
2. เขียนทฤษฎีลงไปก่อน ทุกข้อ แล้วเว้นที่ไว้
3. อ่านกรณีศึกษา แล้ว short note ลงไปว่า ข้อความตรงไหน ตรงกับทฤษฎีอะไร ตามที่โจทย์ถาม
4. ตอบ แบบวิเคราะห์  ... เริ่มเขียนว่า จากกรณีศึกษา บ.บุญรอดใช้ กลุยทธ์เติบโต แบบ Take over โดย... ใช้แบบ Merger โดย .... ใช้แบบ Concentric Diversification โดย....


นอกจากนี้ต้องจำพวกเครื่องมือต่าง ๆ ด้วย มีดังนี้
1. เครื่องมือสำหรับการวิเเคราะห์สภาพแวดล้อมภายนอก
5 force model, และ STEP
2. เครื่องมือสำหรับการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายใน
มี Value Chain , 7S's Model
3. เครื่องมือวิเคราะห์สภาวะตลาด = Market Share ใช้ BCG Matrix
4. การประเมิน SWOT ใช้ TOW Matrix
SO , SW, WO, WT
5. BSC - Financial, Customer, Internal Process, Learning and Growth

BUS 6012 การจัดการการเงิน

รายงานกลุ่ม 10 คะแนน (ส่ง Soft file ใช้ Powerpoint ไม่ต้องส่ง Paper)

พรีเซ้นกลุ่มละ 10 นาที

Topic
1. Fintech
2. Blockchain
3. Bitcoin
4. Big Data Analytic in Banking and Finance
5. Crown Funding
6. Artificial Intelligence

รายละเอียดการทำรายงาน
- ทฤษฎี
- การประยุกต์ใช้ในงานด้านการเงิน
- ข้อดีสามารถเปลี่ยนอุตสาหกรรมกรรมการเงินไปด้านไหน
- ตัวอย่าง

BUS6011 แนวข้อสอบ วิชาการจัดการและพฤติกรรมองค์การ

มี 4 ข้อ ใช้เวลาทำ 3 ชั่วโมง (ทำไม่ทัน ต้องวางแผนดี ๆ ว่าจะเขียนอะไรบ้าง, ต้องซ้อมเขียน)

  1. หน้าที่การจัดการมีอะไรบ้าง จากกรณีศึกษา บ.xxx      นำหน้าที่การจัดการมาใช้อย่างไรบ้าง
  2. กลยุทธ์มีกี่ระดับ อะไรบ้าง จากกรณีศึกษา บ.xxx นำกลยุทธ์อะไรมาใช้บ้างและใช้อย่างไรบ้าง
  3. กลยุทธ์ธุรกิระหว่างประเทศ และการจัดการธุรกิจระหว่างประเทศ มีอะไรบ้าง จากกรณีศึกษา บ.xxx      นำกลยุทธ์และการจัดการธุรกิจระหว่างประเทศอะไรมาใช้บ้างและใช้อย่างไรบ้าง
  4. การควบคุมมีอะไรบ้าง และ บ.xxx นำการควบคุมมาใช้อะไรบ้าง และอย่างไร

วันอังคารที่ 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560

การบริหารคุณภาพ (Quality Management)

·คุณภาพ (Quality) หมายความถึงอะไร
คุณภาพ คือ ความสามารถของผลิตภัณฑ์ (Product) หรือการบริการ (Service) ที่จะตอบสนองระดับความคาดหวังของลูกค้าได้อย่างสม่ำเสมอ


ความเป็นมาของการบริหารคุณภาพ

·1924 – กราฟควบคุมกระบวนการเชิงสถิติ                     
               (Statistical process control charts)
·1930 –  ตารางสำหรับการตรวจรับแบบสุ่ม
·1940’s - เทคนิคตรวจรับเชิงสุ่ม (Sampling Technique)
·1950’s – การประกันคุณภาพ (Quality assurance/TQC)
·1960’s – บริหารแบบปราศจากของเสีย (Zero defects)

·1970’s - การประกันคุณภาพของการบริการ

การประกันคุณภาพกับวิธีบริหารคุณภาพเชิงกลยุทธ์
·การประกันคุณภาพ (Quality Assurance)
·เน้นการหาจุดบกพร่องและแก้ไขก่อนผลิตภัณฑ์จะออกไปยังตลาด
·
·วิธีบริหารคุณภาพเชิงกลยุทธ์ (Strategic Approach)
·เน้นการวิธีที่จะป้องกันข้อผิดพลาดไม่ให้เกิดขึ้น

·วิธีนี้จะเน้นในเรื่องของความพึงพอใจของลูกค้า (Customer Satisfaction) มากกว่า